รายการตัวชี้วัด OIT
  O1 โครงสร้าง
  O2 ข้อมูลผู้บริหาร
  O3 อำนาจหน้าที่
  O4 ข้อมูลการติดต่อ
  O5 ข่าวประชาสัมพันธ์
  O6 Q&A
  O7 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
  O8 แผนและความก้าวหน้าในการดำเนินงาน
          และการใช้งบประมาณประจำปี
  O9 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
  O10 คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานของ
            เจ้าหน้าที่
  O11 คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับ
            ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ
  O12 ข้อมูลสถิติการให้บริการ
  O13 E-Service
  O14 รายงานการจัดซื้อจัดจ้างหรือ
            การจัดหาพัสดุ
  O15 ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง
            หรือการจัดหาพัสดุ
  O16 ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือ
            การจัดหาพัสดุ
  O17 รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือ
            การจัดหาพัสดุประจำปี
  O18 แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  O19 รายงานผลการบริหารและพัฒนา
            ทรัพยากรบุคคลประจำปี
  O20 ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
  O21 การขับเคลื่อนจริยธรรม
  O22 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียน
            การทุจริตและประพฤติมิชอบ
  O23 ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
            และประพฤติมิชอบ
  O24 ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและ
            ประพฤติมิชอบ
  O25 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
  O26 ประกาศเจตนารมณ์ นโยบาย
            No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่
  O27 การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
  O28 รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
  O29 รายงานการรับทรัพย์สินหรือ
            ประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา
  O30 การประเมินความเสี่ยงการทุจริต
            ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบน
  O31 รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการ
            ความเสี่ยงการทุจริตและ
            ประพฤติมิชอบประจำปี
  O32 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
  O33 รายงานผลการดำเนินการป้องกัน
            การทุจริตประจำปี
  O34 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและ
            ความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
  O35 รายงานผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริม
            คุณธรรมและความโปร่งใส
            ภายในหน่วยงาน
 
 

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (ITA ปี 2567)

        การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้เล็งเห็นถึงจุดแข็งของเครื่องมือการประเมินผลในการต่อต้านการทุจริตทั้งของสำนักงาน ป.ป.ช. และของสำนักงานคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตและสิทธิพลเมือง สาธารณรัฐเกาหลี จึงได้มีมติบูรณาการเครื่องมือการประเมิน โดยในการประชุมคณะกรรมการ ป.ป.ช. ครั้งที่ 304-51/2554 เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2554 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ "ให้สำนัก/สถาบัน/ศูนย์ในสังกัดสำนักงาน ป.ป.ช. ศึกษาและเตรียมความพร้อมตามดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. 2554 สำหรับการประเมินผลต่อไป และอนุมัติการปรับแผนปฏิบัติการตามโครงการพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ.2554 ตามที่เสนอ ทั้งนี้ โครงการพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ (Transparency Index of the Public Agencies) มีลักษณะใกล้เคียงกับโครงการประเมินคุณธรรมการดำเนินงาน (Integrity Assessment) ดังนั้น เมื่อดำเนินการตามโครงการทั้งสองเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรที่จะนำผลการดำเนินการมาบูรณาการร่วมกัน” กล่าวคือ การประเมินผลตามดัชนีวัดความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เป็นเครื่องมือต่อต้านการทุจริตที่ใช้ในการประเมินความพยายามของหน่วยงานภาครัฐ ในการต่อต้านการทุจริต (measure anti-corruption efforts) จากข้อเท็จจริงในการดำเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้จากเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ ขณะที่การประเมินคุณธรรมการดำเนินงานเป็นเครื่องมือต่อต้านการทุจริตที่ใช้วัดระดับการทุจริตในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (measure corruption) โดยประเมินผลจากการรับรู้หรือประสบการณ์ตรงของประชาชนที่เคยรับบริการจากหน่วยงานภาครัฐ ดังนั้น เพื่อดึงจุดแข็งของทั้งสองระบบและเพื่อให้เกิดความสมดุลในการประเมิน คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มีมติบูรณาการเครื่องมือการประเมินที่ใช้ในการต่อต้านการทุจริตทั้งสองระบบเข้าด้วยกัน แล้วเรียกเครื่องมือใหม่ว่า "การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA)”

แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT)

        การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ ในตัวชี้วัดการเปิดเผยข้อมูล และการป้องกันการทุจริต สำหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)